Page 3 - กากะเยีย ขั้นกะเยีย.....ผสานศิลป์ ถิ่นอีสาน
P. 3

กากะเยีย เป็นอุปกรณ์ส�าหรับวางเพื่ออ่าน
                                                  คัมภีร์ เป็นเสมือนโต๊ะอ่านใบลาน ท�าด้วยไม้ ๘ ชิ้น

                                                  ร้อยเป็นโครงไขว้กันด้วยเชือก สามารถกางออกและ

                                                  พับเก็บได้ง่าย สะดวกในการพกพา การออกแบบ
                                                  สอดคล้องกับวัฒนธรรมการนั่งบนพื้นเรือน ให้เอื้อ

                                                  ต่อการเล่าเรียนเขียนอ่าน เพราะสามารถเปิดหน้า
                                                  ลานวางบนกากะเยียให้แผ่นคัมภีร์อยู่สูงจากพื้น

                                                  โดยไม่ต้องประคองไว้ให้หนักมือ เป็นการถนอมรักษา

                                                  คัมภีร์ใบลานไปในตัว เพราะการถือใบลานนาน ๆ
                                                  เหงื่อและน�้ามันจากมือจะเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท�าให้

                                                  ใบลานเสื่อมสภาพ  ทั้งยังเป็นการแสดงออกถึง

                                                  ความเคารพโดยยกแผ่นลานให้สูง ไม่วางราบไปกับ
                                                  พื้นเรือน ในแถบอีสานพบกากะเยียที่มีฐานไขว้กัน

                                                  เหมือนโต๊ะพับ และตกแต่งด้วยศิลปะกลุ่มวัฒนธรรม
           ในอดีตพระภิกษุน�าความรู้ที่จารจารึกไว้ใน
             คัมภีร์ใบลานมาอบรมสั่งสอนกุลบุตร     ลาวชาวอีสาน
                                                       อุปกรณ์วางคัมภีร์ใบลานอีกประเภทหนึ่งที่พบ

                                                  ในถิ่นอีสาน บางต�าราเรียก ขั้นกะเยียแบบขั้นบันได
                                                  มีลักษณะคล้ายแผงขั้นบันได ใช้จัดเก็บวางคัมภีร์

                                                  เพื่อเตรียมใช้งาน ไม่ใช่เพื่อการอ่าน โดยห่อผ้าหรือ

                                                  กล่องคัมภีร์จะวางอยู่บนโครงสร้างไม้ที่ยื่นออกมา
                                                  รับน�้าหนัก มีจ�านวนขั้นเป็นเลขคี่ ซึ่งเชื่อมโยงกับ

                                                  การสร้างบันไดตามคติโบราณว่า เลขคู่บันไดผี เลขคี่
                                                  บันไดคน  ขั้นกะเยียแบบขั้นบันไดวางคัมภีร์ได้

                                                  ๓-๙ มัด และมีการแกะสลักลวดลายหรือประดับ

                                                  ด้วยกระจกสีเพื่อตกแต่งส่วนยอดและส่วนฐาน
                                                  เพื่อความงดงาม


                  กากะเยียพุทธหัตถศิลป์ของอุบลราชธานี โครงสร้างส่วนขาไขว้กันเหมือนโต๊ะพับ
             ด้านล่างสลักลายกลีบบัว ส่วนโค้งด้านบนรองรับคัมภีร์ใบลาน อายุราวต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๕



           70
                 อยู่ในบุญ กรกฎาคม ๒๕๕๗
           70   อยู่ในบุญ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘                                                                                                                                   กรกฎาคม ๒๕๕๗ อยู่ในบุญ    71


                                                     70
   1   2   3   4   5   6