Page 2 - ผ้าห่อถักทอเชื่อมสายบุญ
P. 2

สังคมไทยในอดีตรู้จักการทอผ้ามาช้านานดั่งปรากฏในหลักฐานของจูต้ากวน เมื่อปี พ.ศ. ๑๘๓๙
             บันทึกว่า หญิงชาวสยามใช้เครื่องนุ่งห่มที่ท�าจากผ้าไหมทอและผ้าแพรสีด�า และหลักฐานทาง

             โบราณคดี ๒ ชิ้นที่พบในดินแดนประเทศไทยในปัจจุบัน ชิ้นแรกเป็นเศษผ้าติดอยู่กับก�าไลส�าริด
             ของบ้านเชียง ส่วนชิ้นที่สองเป็นเศษเส้นใยไหมพบที่บ้านนาดี อ.หนองหาน จ.อุดรธานี หลักฐาน
             จากบันทึกและหลักฐานทางกายภาพทั้ง ๒ ชิ้นบ่งชี้ว่า ในแผ่นดินไทยมีการใช้ผ้าไหมตั้งแต่

             เมื่อ ๓,๐๐๐ ปีก่อน และท�าให้สามารถสันนิษฐานเชื่อมโยงต่อไปได้ว่า สตรีไทยรู้จักการปลูกหม่อน
             เลี้ยงไหมและทอผ้าใช้เองภายในครัวเรือนมานานหลายพันปี





























                  การทอผ้าถือเป็นงานศิลปะที่ต้องอาศัย    ในพิธีกรรมที่ส�าคัญยิ่งมีลวดลายและสีสัน

            ประสบการณ์และฝีมือของช่างทอ เพื่อให้ได้  ที่วิจิตรตระการตา กระบวนการในทุกขั้นตอน
            ผืนผ้าที่มีคุณภาพและมีลวดลายเป็นเอกลักษณ์    จึงต้องพิถีพิถัน ตั้งแต่การเลือกชนิดใบหม่อน
            เฉพาะตัว ยิ่งเป็นผ้าที่ใช้ส�าหรับชนชั้นสูงหรือ  เพื่อเลี้ยงหนอนไหม เนื่องจากใบหม่อนต่างพันธุ์





                                                                     มกราคม ๒๕๖๐ อยู่ในบุญ   41



                                                     41
   1   2   3   4   5