Page 5 - ลังกาทวีป ประทีปพุทธธรรม (ตอนที่ ๑)
P. 5

การเสด็จเยือนครั้งที่ ๓



                 ครั้งที่ ๓ คือในพรรษาที่ ๘ แห่งการ   ลังกาทั้ง ๓ ครั้งของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
          ตรัสรู้ธรรม พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จไป       จบลงเพียงเท่านี้ จากนั้นเนื้อความปริเฉทถัดไป
          ยังเกาะลังกาตามค�าทูลเชิญของพญานาค  พระมหาคัมภีร์ได้เล่าถึงเรื่องการสังคายนา

          นามว่า มณีอักขิกะ พร้อมด้วยภิกษุจ�านวน  พระไตรปิฎกครั้งต่าง ๆ รวมถึงการประดิษฐาน
          ๕๐๐ รูป พระพุทธองค์เสด็จไปในอากาศมายัง      พระพุทธศาสนา  ณ  เกาะลังกา  หลังการ

          ปากแม่น�้ากัลยาณีพร้อมด้วยพระสาวก ซึ่ง      สังคายนาครั้งที่ ๓ ซึ่งจะกล่าวในรายละเอียด
          ณ  ที่นั้นจะเป็นที่ตั้งของพระมหาสถูปและ     ต่อไปในบทความฉบับหน้า แม้ว่าในการศึกษา
          พระมหาเจดีย์ต่อไปในภายภาคหน้า หลัง          ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาของนักวิชาการ

          ประทับนั่งแผ่เมตตาและทรงเข้าสมาบัติตลอด  บางท่านอาจมองว่าการเสด็จมาของพระ-
          ๗ วันแล้ว เสด็จไปยังมหาเมฆวันอันเป็นสถานที่   พุทธองค์ทั้ง ๓ ครั้งนี้ไม่น่าจะเป็นไปได้จริง ถึง

          ที่พระพุทธเจ้าถึง ๓ พระองค์ คือ พระกกุสันธะ  กระนั้นหากมองพระคัมภีร์ทั้งสองในมิติของ
          พระโกนาคมนะ และพระกัสสปะ ได้ประทับนั่ง      ความรักและความศรัทธาที่มีต่อพระพุทธองค์
          รับไทยธรรม และพระองค์ก็ทรงเป็นพระพุทธเจ้า   กลับท�าให้เห็นว่า เรื่องราวดังกล่าวแสดงถึง

          พระองค์ที่ ๔ ที่ประทับรับไทยธรรมเฉกเช่น     อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีมานานหลาย
         พระพุทธเจ้าในกาลก่อน จากนั้นจึงเสด็จพร้อม    พันปี และสะท้อนถึงความแน่นแฟ้นในค�าสอน

         ด้วยพระสาวกไปที่ยอดเขาสุมนกูฏ คือยอดเขา      ของพระพุทธองค์ที่เป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิต
         ศิริปาทะ และประทับรอยพระบาทไว้บนยอดเขา       ของบรรพชนชาวศรีลังกามาช้านาน หล่อหลอม
         แห่งนั้น                                     ให้เกาะลังกาเป็นหนึ่งในประเทศที่ค�าสอน

                 เนื้อความในพระพระคัมภีร์ทีปวงศ์และ   ของพุทธศาสนาแบบเถรวาทยังเป็นประทีป
         พระคัมภีร์มหาวงศ์เรื่องการเสด็จมายังเกาะ     ส่องน�าทางมาจนปัจจุบัน



          อ้างอิงและภาพประกอบจาก
          พระคัมภีร์ทีปวงศ์ : ต�านานว่าด้วยการประดิษฐานพระพุทธศาสนาในลังกาทวีป. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ :
          ส�านักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๕๗.
          Jayasinghe, G., & Wettasinghe, S. (2006). The Glory of Kelaniya Murals (p. 127). Unigraphics.
          Sena Kothalawala, (2005). In the Footsteps of Samma Sambuddha.


           58    อยู่ในบุญ สิงหาคม ๒๕๖๐



                                                     58
   1   2   3   4   5   6